ผลงานทางวิชาการ

ศูนย์เรียนรู้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (MJU-BCTLC) วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ การควบคุมโดยชีววิธี ในการควบคุมศัตรูพืช (แมลงและไรศัตรูพืช โรคพืช และวัชพืช) โดยชีววิธี สนับสนุนพันธกิจด้านการเรียนการสอนและการวิจัย ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ เสริมสร้างสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ การฝึกอบรมในรูปแบบต่างๆ เป็นแหล่งศึกษาดูงาน ให้บริการด้านการคคัดกรอง การคัดเลือก การผลิต และการตรวจสอบคุณภาพของศัตรูธรรมชาติ และให้ความร่วมมือและแลกเปลี่ยนความรู้ ด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการที่เหมาะสม สำหรับเกษตรกรและบุคลากรจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ

Virulence and genetics at the molecular level of an indigenous strain of Beauveria bassiana affected by artificial and mass production media usage for sustainable insect control

Molecular biology of indigenous strain of entomopathogenic fungus, Beauveria bassiana (Balsamo) Vuillenim (Ascomycota: Hypocreales) (strain Bbs01) based on DNA fingerprinting and enzymatic studies and based on respective RAPD-PCR and acrylamide gel electrophoresis were conducted. The results showed that neither artificial media (PDA, SDA, SDAY, MEA, NA and WA) nor mass production material (cooked rice, paddy, millet and dog feed) effect the fungal genetic stability and protease enzyme activity.

Kawpet; R. , De Bels; M. , Saengyot; S.
STUDY ON CULTURING METHODS TO INCREASE THE QUANTITIES OF OPHIOCORDYCEPS FOUND IN THE AREA OF DOI INTHANON NATIONAL PARK, CHIANG MAI PROVINCE, THAILAND

The investigation was carried out by surveying and field collecting, the entomopathogenicfungi in the genus Ophiocordyceps (Hypocreales: Ophiocordycipitaceae) in Doi Inthanon National Park,Chiang Mai Province, found that the majority specimens were identified as Ophiocordyceps unilateralis

Rungkiat Kawpet, Samaporn Saengyot
เชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคของแมลงที่พบใน ระบบปลูกพืชอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างปี 2558-2559

การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์ควบคุมแมลงศัตรูพืช เป็นวิธีการควบคุมแมลงโดยชีววิธีอย่างหนึ่งซึ่งในปัจจุบันได้รับความสนใจเพิ่มขึ้นโดยลำดับ สำหรับการเรียนรู้ด้านการควบคุมโดยชีววิธีโดยใช้ เชื้อโรค สิ่งที่ผู้สนใจควรทำความเข้าใจเป็นเบื้องต้น ได้แก่ ความหมายของการควบคุมโดยใช้จุลินทรีย์ (microbial control) ประวัติโดยสังเขปของวิธีการดังกล่าว (A brief history) ตั้งแต่ยุกต์ที่มนุษย์ได้รู้จัก การเป็นโรคของแมลงจนเกิดศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง กลไกหลัก ๆ ของของการเข้าทำลายแมลงของเชื้อจุลิทรีย์โดยสังเขป ซึ่งสามารถแบ่งเป็นสองแบบ

ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.ศมาพร แสงยศ
แมลงตัวห้ำที่พบในระบบปลูกพืชอินทรีย์

ตัวห้ำ (Predators)โดยทั่วไป “แมลงตัวห้ำ” มักมีขนาดตัวที่โตกว่าสิ่งที่มันกินซึ่งเรียกว่า “เหยื่อ” (prey) ของมันซึ่งอาจมีพฤติกรรมการกินโดยการจับแล้วกิน หรือดูดกินของเหลวในตัวเหยื่อหมดทั้งตัว และ ต้องกินเหยื่อหลายตัวเพื่อการดำรงชีวิตจนครบวงจรชีวิต บางชนิดมีพฤติกรรมเป็นตัวห้ำได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต ยกตัวอย่างเช่นด้วงเต่าตัวห้ำ (predacious beetles)

ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.ศมาพร แสงยศ
ข้อมูลแมลงตัวเบียนที่พบในระบบปลูกพืชอินทรีย์

ตัวเบียน (parasitoids)เป็นที่สังเกตว่าสิ่งมีชีวิตเกือบทั้งหมดจะไม่มีกลุ่มใดที่พวกเดียวกันเองในอัตราชนิดต่อชนิดมากเท่ากับแมลง ดังนั้นแมลงเป็นสิ่งมีชีวิตซึ่งมีวิวัฒนาการจนถึงขั้นที่เรียกว่าการเบียนตัวเอง (adelphoparasitism หรือ autoparasitism) กล่าวคือแมลงเบียนชนิดเดียวกันสามารถเบียนแมลงเบียนที่อยู่ในชนิดเดียวกันได้

ผู้ช่วยศาสตร์จารย์ ดร.ศมาพร แสงยศ
Development and Growth Ratio of Predaceous Coccinellid, Sasajiscymnus quinquepunctatus (Weise) on Papaya Mealybug, Paracoccus marginatus Williams & Granara de Willink

The predaceous coccinellid, Sasajiscymnus quinquepunctatus (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae) was identified as a potential candidate for biological control of the papaya mealybug, Paracoccus marginatus Williams & Granara de Willink (Hemiptera: Pseudococcidae), which is native to the Neotropical region and in 2008 was detected as an invasive alien insect species in Thailand.

Samaporn Saengyot,Intawat Burikam
Host Plants and Natural Enemies of Papaya Mealybug, Paracocus marginatus (Hemiptera:Pseudococidae) in Thailand

The papaya mealybug,Paracocus marginatus Wiliams & Granara de Wilink (Hemiptera: Pseudococidae) is native to Mexico and Central America.Between 2008 and 2009 it was detected variously in south India,Indonesia,Malaysia,SriLanka and Thailand.

S.Saengyot,I.Burikam
ศัตรูพืชและการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี

กลุ่มหลัก ๆ ของศัตรูพืช ทางการเกษตรคือ แมลงศัตรูพืช หรือ “วัชแมลง” โรคพืช และวัชพืช ซึ่งศัตรูพืช เหล่านี้ เป็นอุปสรรคและปัญหาสำคัญของเกษตรกร ในการควบคุมหรือการบริหาร จัดการไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรรายย่อย หรือเกษตรกรรายใหญ่ ที่ทำการเพาะปลูก ไม่ว่าจะเป็นการเพาะปลูกส่วนใหญ่ที่มีการใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มผลผลิต หรือมีการใช้สารเคมเพื่อกำจัดและลด ความเสียหายจากศัตรูพืช หรือ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศมาพร แสงยศ